วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2563

ครั้งที่ 4


  บันทึกการเรียนครั้งที่ 4     

❤❤ วันอังคารที่ 25 สิงหาคม 2563 ❤❤

EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย

วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2563

เวลา 8:30-12:30

            
      เนื้อหาที่เรียนในวันนี้  

    อาจารย์ได้พูดเกี่ยวกับการลงสังเกตการณ์สอน การใช้คำเรียกตัวเด็กโดยไม่ให้ใช้เรียกเด็กว่า"มัน"แต่ให้เรียกตัวเด็กโดยใช้ชื่อเล่นของเด็ก สอนเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กเหมือนหรือต่างกันอย่างไรบอกพัฒนาการของเพียเจต์ว่าเด็กมีพัฒนาการอย่างไรและยกตัวอย่าง คุณลักษณะตามวัย 3-5 ขวบ

3 ขวบ = สำรวจสิ่งต่างๆได้,บอกชื่อตัวเองได้,สนทนาโต้ตอบได้สนใจในนิทาน

4 ขวบ = จำแนกสิ่งต่างๆได้,บอกชื่อนามสกุลของตัวเองได้,สนทนาโต้บอกบอกเล่าประโยคสั้นๆ

5 ขวบ = บอกตวามแตกต่างได้

          คำศัพท์ 

        absorb = ซึมซับ

      environment = สภาพแวดล้อม

      conserve = อนุรักษ์

      Restructuring = การปรับโครงสร้าง

     abstract = นามธรรม

            การประเมิน

ประเมินครู = ครูตั้งใจสอนมาก ทำให้เด็กเข้าใจอย่างถ่องแท้ ยกตัวอย่างให้เห็นอย่างชัดเจน

 ประเมินตัวเอง = ตั้งใจฟังที่ครูพูด สามารถเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น ดูสนุกและไม่เครียดจนเกินไป

 ประเมินเพื่อน = เพื่อนตั้ใจฟัง มีความกระตือรือร้นในหน้าที่ของตนดูไม่เบื่อเวลาครูสอน ตั้งใจตอบคำถามที่ครูได้ถามมา



วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2563

ครั้งที่ 3

    ⤡⤡บันทึกการเรียนครั้งที่ 3 ⤡⤡

❤❤  วันอังคารที่ 18 สิงหาคม 2563 ❤❤

EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2563

เวลา 8:30-12:30

   
เนื้อหาเกี่ยวกับวิชาในวันนี้ 

               อาจารย์ได้พูดเกี่ยวกับเรื่องประชาอธิปไตยและได้ถามว่านักศึกษาคิดอย่างไรกับการที่มีการชุมนุมในวันเสาร์ที่ผ่านมามีการแลกเปลี่ยนความคิดกับอาจารย์และนักศึกษาและได้พูดเกี่ยวกับการใช้เหตุผลในเนื้อหาที่เรียน การใช้ประสบการณ์การเรียนการการสอนโดยเอาสถานการณ์ในการชุมนุมนั้นมาประกอบการเรียนคณิศาสตร์และวิทยาศาสตร์เช่น 

    คณิตศาสตร์ = จำนวนคนที่ไปชุมนุม  จำนวนอาหารที่ได้รับ จำนวนห้องน้ำ สัญลักษณ์ที่แทนการรวมกลุ่ม
    
    วิทยาศาสตร์ = สภาพอากาศทำให้เกิดไข้ไหม จัดเวทีปราศัยอย่างไรที่ไม่ทำให้เครียด 

    สังคม = ทำไมต้องจัดม็อบ

    ภาษา = สัญลักษณ์ วาทะ

      คำศัพท์ 

            Senses =  ประสาทสัมผัส

        Threaten =  คุกคาม

        Democracy = ประชาธิปไตย

        Odserve =  สังเกต

        Development = พัฒนาการ




อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ทำ mind mabping โดยมีหัวข้อว่า
"การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย"
 




                การประะเมิน 



ประเมินครู : ครูตั้งใจพูดและตั้งใจสอนเป็นอย่างมาก



 ประเมินตนเอง : ตัวเองมีความกระตือรือร้นในการทำงาน สนุกกับอาจารย์   ตั้งใจฟังที่ครูพูด



 ประเมินเพื่อน : ตั้งใจฟัง เพื่อนมีความกระตือรือร้นในการทำงานและสิ่งที่ตัวเองได้รับมอบหมาย

วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2563

สรุปวิดีโอตัวอย่างการสอนณิตศาสตร์

สรุปวิดีโอตัวอย่างการสอนณิตศาสตร์   




ครูเริ่มสอนโดยการให้เด็กๆร้องเพลงเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็กๆรู้สึกไม่ง่วงและไม่เบื่อหน่าย

ครูสอนโดยการชี้ไปที่ตัวเลขใดเลขหนึ่งแล้วให้เด็กๆตอบว่าเลขที่ครูชี้นั้นเป็นเลขอะไร ทำให้เด็กได้ใช้

ทักษะการจำจากที่ครูท่านนี้ได้ชี้ตัวเลขแล้วให้เด็กตอบ








สรุปวิดีโอตัวอย่างการสอนวิทยาศาสตร์

สรุปวิดีโอตัวอย่างการสอนวิทยาศาสตร์ 



   



ครูได้เริ่มสอนโดยการใช้กระดาษสะท้อนแสงให้เห็นเงาในพนังโดยการให้เด็กๆออกมาแสดงละครมือและเล่าเรื่องไปด้วยทำท่าทาง

ประกอบตามที่ได้เล่าเรื่องไปด้วยทำให้เด็กๆสนใจและตื่นเต้นในการที่ได้เห็นเงาสะท้อนและช่วยกันเล่นกิจกรรม มีทั้งถามตอบร่วม

กับครูประจำชั้น





คลิกเพื่อดูวิดีโอตัวอย่างการสอนวิทยาศาสตร์

สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์

   สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์

เรื่อง การพัฒนาแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรียนระดับปฐมวัย


              วัตถุประสงค์   
            
            1. หาคุณภาพแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียนระดับ ปฐมวัย 
            
              2. สร้างเกณฑ์ปกติ (norms) และคู่มือการใช้แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์สําหรับนักเรยนระดับปฐมวัย   
             ขอบเขตของวิจัย    
 
            1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นปฐมวัย ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 ของโรงเรียนใน

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 จํานวน 2,939 คน (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1. 2547 : 1) 
 
            2. กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นปฐมวัย ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 ของโรงเรียนใน

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 จํานวน 375 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multi - stage random sampling)  
           
            3. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาเป็นแบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จํานวน 7 ฉบับ คือ 

                  3.1 แบบทดสอบทักษะการสังเกต 
            
                  3.2 แบบทดสอบทักษะการวัด 

                  3.3 แบบทดสอบทักษะการจําแนกประเภท  

                  3.4 แบบทดสอบทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับมิติ 

                  3.5 แบบทดสอบทักษะการใช้ตัวเลข 

                  3.6 แบบทดสอบทักษะการสื่อความหมายจากข้อมูล  

                  3.7 แบบทดสอบทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล 
           
            4. คุณภาพของแบบทดสอบ
                
                 4.1 ความเที่ยงตรง (validity) 
                    
                     4.1.1 ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) 
                    
                     4.1.2 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) 
                 
                4.2 ความยากง่าย (difficulty) 
                
                4.3 อํานาจจําแนก (discrimination) 
               
                4.4 ความเชื่อมนั่ (reliability) 
              
                4.5 เกณฑ์ปกติ (norms) 
                  สรุปความได้ว่า               
            
                    ประสบการณ์เป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเกิดขึ้นในตัวเด็ก เพื่อพัฒนาเด็กทั้งทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ 

สังคม และสติปัญญา โดยเฉพาะในระยะแรกเริ่มชีวิต หรือช่วงระยะ ปฐมวยมีความสําคัญเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นรากฐานของ

พัฒนาการก้าวต่อไปของชีวิต บุคคลแต่ละคน ตลอดจนเป็นปัจจัยสําคัญที่กําหนดความสามารถ แรงจูงใจ ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่ดี และความ

กระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองของเด็กที่จะส่งผลต่อเนื่องจากช่วงวัยเด็กไปสู่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ประสบการณ์สำคัญจะเกี่ยวข้อง

กับการจัดสภาพแวดล้อมทุกด้านที่กระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ใน

วิถีชีวิตของเด็กและสังคมภายนอก อันจะสั่งสมเป็นทักษะพื้นฐานที่จําเป็นต่อการเรียนรู้

และสามารถพัฒนาต่อเนื่องไปสู่ระดับที่สูงขึ้น 

                 ช่วงระยะ 6 ปีแรกของชีวิตเป็นวัยที่เซลล์สมองกำลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ได้สรุป ว่าเดกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี 

มีการพัฒนาทางความคิดจากการเคลื่อนไหว และจากการมีปฏิสัมพันธ์ และใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตลอดจนมีพัฒนาการทางภาษา

เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว 




  
....คลิกเพื่อดูวิจัย....  



สรุปวิจัยคณิตศาสตร์


สรุปวิจัยคณิตศาสตร์


เรื่อง ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์จากวัสดธรรมชาติ

        วัตถุประสงค์     

        1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเดกปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม

ศิลปสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติ 

          ขอบเขตของวิจัย               
                                                                     
             ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย    

            ประชากรที่ใช้ในการวิจัย 

                 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 4 - 5 ปี ชั้นอนุบาล ปีที่ 1  ภาคเรียนที่ 2 

ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดมะพร้าวเตี้ย สํานักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 2 ห้องเรียน นักเรียนมีจํานวน

ทั้งหมด 72 คน

          สรุปความได้ว่า

                กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ประเภทหนึ่งที่มีคุณค่าแก่เด็กหลายประการ อาทิเช่น

 ทําให้เกิดการทํางานร่วมกันระหว่างร่างกายกับสมองที่สมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และ จินตนาการเป็นของตนเอง เกิดความ

กระตือรือร้นอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกตและช่างซักถามในเรื่อง ที่สงสัย ช่วยฝึกกล้ามเนื้อมือให้มีความแข็งแรง ฝึกการประสาน

สัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือกับ สายตา ส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง ทําให้เด็กมีโอกาสแสดงออกทางอารมณ์ รู้สึกผ่อนคลาย มี 

ความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีสมาธิในการทํางาน เปิดโอกาสให้เด็กทํางานตามลําพังและทํางาน ร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่ม รู้จักปรับตัว

ที่จะทํางานร่วมกัน ฝึกการอดทน การรอคอย การแบ่งปัน การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีวินัยในตนเองและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ดัง

นั้นกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติจึงเป้นแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดและทักษะทางคณิตศาสตร์ รวม

ทั้งเป็นการปลูกฝังให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์















   
     

สรุปบทความคณิตสาสตร์


สรุปบทความคณิตสาสตร์ 

ในการส่งเสริมและพัฒนา IQ EQ เด็กไทย จำเป็นต้องพัฒนาทักษะ 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านการคิด การใช้ภาษา และทักษะด้าน

อารมณ์ ซึ่งเป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับชีวิต โดยต้องเริ่มฝึกตั้งแต่วัยทารก การฝึกทักษะด้านการคิด ผู้ปกครองสามารถฝึกทักษะให้

แก่เด็กด้วยกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (Pre-math skills) โดยผ่านการเล่น หรือกิจกรรมในชีวิตประจำวันที่สนุกสนาน ซึ่งเป็นส่วน

หนึ่งของการเลี้ยงดูเด็กโดยพ่อแม่หรือญาติพี่น้องส่วนทักษะทางคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นนั้นต้องอาศัยทักษะพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์

ในช่วงปฐมวัย เช่นเดียวกับบ้านที่ต้องการรากฐานที่แข็งแรงพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูจึงเป็นผู้ที่มีส่วนสำคัญในการช่วยพัฒนาทักษะพื้น

ฐานด้านคณิตศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย ด้วยวิธีการสอนที่เป็นเรื่องใกล้ๆ ตัวใช้อุปกรณ์การสอนที่อยู่ในชีวิตประจำวัน 


►►การเสริมความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์กับลูกน้อย◄◄

พ่อแม่ และผู้ดูแลเด็กนำความรู้ไปส่งเสริมทักษะพื้นฐานด้านการคิดในเชิงคณิตศาสตร์แก่บุตรหลานที่อยู่ในปฐมวัย พร้อมทั้งการ

พัฒนาชุดเทคโนโลยีและองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมทักษะการอ่าน และทักษะด้านอารมณ์ ในเด็กปฐมวัย เพื่อการพัฒนาศักยภาพ

ของสมองและการรู้คิดของเด็กไทยในการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน












ครั้งที่ 12

        บันทึกอนุทินครั้งที่ 11               ❤❤ วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน 2563 ❤❤ EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำหรับเ...